การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ สบู่รังไหมบ่านท่าทราย

การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ สบู่รังไหมบ่านท่าทราย

ส.1 สืบค้น

ภาพที่ 1 ภาพ Mood Board ส.1
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

   แสดงข้อมูลเบื่องต้นของตัวบรรจุภัณฑ์ สบู่รังไหมบ้านท่าทราย โดยใช้หลักการวิเคราะห์ด้วยการมอง(Visual Analysis) 

ข้อมูลทั่วไป  
   ชื่อผลิตภัณฑ์ : สบู่รังไหม
   ชื่อผู้ประกอบการ : นางปาน เอี่ยมสุภา
   ชื่อสินค้า : สบู่รังไหม
   ประเภท : สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
   สี : เหลืองอำพัน
   วิธีบริโภค : ถูสบู่กับน้ำสะอาดจนเกิดฟอง ลูบไล้ให้ทั่วใบหน้าและลำคอ
   ล้างออกด้วยน้ำสะอาด ควรใช้ทำความสะอาดผิวหน้า และลำคออย่างน้อย
   วันละ 2 ครั้ง ตอนเช้าและก่อนนอน
   ส่วนผสม : รังไหม,วิตามินE
   ขนาด/มิติ : กว้าง 7.5 ซม.สูง 4.5 ซม.
   น้ำหนัก/ปริมาณสุทธิ :
   ผู้ผลิต : กลุ่มแม่บ้านท่าทราย
   ที่อยู่ : 169 หมู่ 1 บ้านท่าทราย ต.บางหลวง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท 17150
   เบอร์โทรศัพท์ : 05-6407500,081-8874569
   ราคา : 30 บาท



ภาพที่ 2 ภาพแสดงการศึกษาวิเคราะห์ส่วนประกอบของสินค้าและบรรจุภัณฑ์ทางการมองเห็น
ที่มา: สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์ กลุ่ม iherb

1.ตราสัญลักษ์สินค้า                         8.ตราสัญลักษณ์ สนับสนุน จ.ชัยนาท                           
2.ชื่อสินค้า                                        9.ตราสัญลักษณ์ สนง.อุตสาหกรรม
3.คำอธิบายตัวสินค้า                        10.ตราสัญลักษณ์ OTOP                         
4.สรรพคุณ                                       11.น้ำหนักสุทธิ 
5.ส่วนผสม                                       12.วันที่ผลิต/วันหมดอายุ
6.วิธีใช้                                             13.ราคา
7.สถานที่ผลิต 


ส.2 สมมุติฐาน

    แนวคิดในการออกแบบ คือ การนำรูปแบบเดิมของผลิตภัณฑ์มาพัฒนาต่อโดยยังคงยึดตราสัญลักษณ์และข้อมูลบนตัวบรรจุภัณฑ์เอาไว้เหมือนเดิม ตามความต้องการของผู้ประกอบการ การออกแบบจึงเน้นไปที่ภาพลักษณ์ให้ออกมาดูทันสมัยมาก โดยได้ทำการออกแบบเป็นบรรจุภัณฑ์ทางเลือกไว้4 แบบ ดังนี้

ภาพที่ 3 ภาพอาร์ตเวิคแบบที่ 1
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 4 ภาพอาร์ตเวิคแบบที่ 2
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 5 ภาพอาร์ตเวิคแบบที่ 3
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 6 ภาพอาร์ตเวิคแบบที่ 4
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์



ส.3 สรุปผล 

   ผลงานทั้งหมดที่ทำการออกแบบไว้มีอยู่ 3รูปแบบ ดังนี้

แบบที่ 1
   
   ในแบบแรกจะเป็นการออกแบบให้ใช้บรรจุภัณฑ์แบบกล่องโดยเจาะรูให้เห็นตัวผลิตภัณฑ์ด้านในเป็น
การแก้ปัญหาเพื่อให้เห็นตัวผลิตภัณฑ์มากขึ้นที่จากเดิมไม่สามารถเห็นได้เลย โดยใช้กล่องที่มีขนาดเท่าแบบเดิมคือ 7.5 x 4.5 เป็นขนาดที่ใช้ทำจริง

ภาพที่ 6 ภาพสติกเกอร์ แบบที่ 1
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

 ภาพที่ 7 ภาพแบบบรรจุภัณฑ์ 3มิติ ภาพที่ 1
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

 ภาพที่ 8 ภาพแบบบรรจุภัณฑ์ 3มิติ ภาพที่ 2
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 9 ภาพแบบบรรจุภัณฑ์ 3มิติ ภาพที่ 3
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 10 ภาพบรรจุภัณฑ์แบบ 1 ที่สมบูรณ์
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์


แบบที่ 2
   
   ในแบบสองจะเป็นการออกแบบให้ใช้บรรจุภัณฑ์แบบถุงที่สามารถรูดปากถุงปิดและมีป้ายแท็กที่แสดงข้อมูลของตัวสินค้าปิดอยู่ด้านหน้าอีกที เน้นการใช้วัสดุที่ให้กลิ่นอายของความเป็นงานคราฟด้วยมือ

ภาพที่ 11 ภาพป้ายแท็กที่ใช้กับบรรจุภัณฑ์
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 12 ภาพจำลองบรรจุภัณฑ์แบบถุงผ้า
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์


 ภาพที่ 13 ภาพบรรจุภัณฑ์ที่สมบูรณ์ 1
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 13 ภาพบรรจุภัณฑ์ที่สมบูรณ์ 2
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 13 ภาพบรรจุภัณฑ์ที่สมบูรณ์ 3
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

แบบที่ 3
   
   ในแบบสามจะเป็นการออกแบบให้ใช้บรรจุภัณฑ์แบบห่อ ด้วยกระดาษสีน้ำตาลและมีสติกเกอร์ที่มีข้อมูลตัวผลิตภัณฑ์ปิดอยู่ทางด้านหน้าและหลังของตัวบรรจุภัณฑ์ที่ทำการห่อเอาไว้

ภาพที่ 14 ภาพสติกเกอร์ แบบที่ 1
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 15 ภาพจำลองบรรจุภัณฑ์แบบห่อ
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

 ภาพที่ 16  ภาพบรรจุภัณฑ์ที่สมบูรณ์ 1
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

 ภาพที่ 17 ภาพบรรจุภัณฑ์ที่สมบูรณ์ 2
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์

ภาพที่ 18 ภาพบรรจุภัณฑ์ที่สมบูรณ์ 3
ที่มา : สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์






















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น