วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Individual Final Project Purebar Silk Soap

รายงานสรุปผลการเรียนรู้และการปฎิบัติงาน

ในรายวิชาการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์

Individual Final Project Purebar Silk Soap 

วันเสาร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการเรียนรู้ และกิจกรรมในห้องเรียน สัปดาห์ที่3

.ในสัปดาห์ที่3 เป็นการนำเสนอผลงานตัวผลิตภัณฑ์ ด้วย Moodboard โดยใช้ visual analysis ซึ่งผลงานที่ทำำออกมายังไม่เป็นที่พอใจอาจารย์จึงได้ให้คำแนะนำในเรื่องต่างๆเพิ่มเติมดังนี้

1. ทำความเข้าใจในการทำ Mood Board ใหม่
Mood Board คือ ตัวช่วยทำให้เกิดความเข้าใจได้รวดเร็วที่สุด เป็นการรวบรวมข้อมูลที่สรุปแล้ว รูปภาพที่ใช้ควรถ่ายให้สวยงามและแสดงการวิเคราะห์ส่วนประกอบต่างๆ ของผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ (Product & Package Visual Analysis) ให้ชัดเจน

2. ข้อมูลที่ควรศึกษาเพิ่มเติม
การที่จะศึกษาตัวผลิตภัณฑ์ให้เข้าใจถึงที่มาและปัญหาของตัวผลิตภัณฑ์นั้น การลงพื้นที่ไปสำรวจนั้นจะได้คำตอบที่ดีกว่า การพบปะพูดคุยกับผู้ประกอบการก็จะช่วยให้ได้ซักถามถึงรายละเอียดและข้อมูลเชิงลึกได้อย่างตรงไปตรงมามากขึ้น เพราะฉะนั้นการลงพื้นที่จริงจึงเป็นเรื่องที่สำคัญ

3. วิเคราะห์จุดอ่อน-จุดแข็ง (Swot Analysis)
การวิเคราะห์จุดอ่อน-จุดแข็ง จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ เพื่อให้ได้คำตอบที่จะเป็น ตัวกำหนดธีมหลักในการออกแบบบรรจุภัณฑ์



การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยการมอง (Product & Package Visual analysis)

การออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์สบู่รังไหม
กลุ่มแม่บ้านท่าทราย ตำบลบางหลวง อำเภอสรรพยาจังหวัดชัยนาท


ภาพที่1 ภาพถ่ายสินค้า
ที่มา: สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์ กลุ่ม iherb, 2557

ข้อมูลทั่วไป  
   ชื่อผลิตภัณฑ์ : สบู่รังไหม
   ชื่อผู้ประกอบการ : นางปาน เอี่ยมสุภา
   ชื่อสินค้า : สบู่รังไหม
   ประเภท : สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
   สี : เหลืองอำพัน
   วิธีบริโภค : ถูสบู่กับน้ำสะอาดจนเกิดฟอง ลูบไล้ให้ทั่วใบหน้าและลำคอ
   ล้างออกด้วยน้ำสะอาด ควรใช้ทำความสะอาดผิวหน้า และลำคออย่างน้อย
   วันละ 2 ครั้ง ตอนเช้าและก่อนนอน
   ส่วนผสม : รังไหม,วิตามินE
   ขนาด/มิติ : กว้าง 7.5 ซม.สูง 4.5 ซม.
   น้ำหนัก/ปริมาณสุทธิ :
   ผู้ผลิต : กลุ่มแม่บ้านท่าทราย
   ที่อยู่ : 169 หมู่ 1 บ้านท่าทราย ต.บางหลวง อ.สรรพยา จ.ชัยนาท 17150
   เบอร์โทรศัพท์ : 05-6407500,081-8874569
   ราคา : 30 บาท






ภาพที่2ภาพแสดงการศึกษาวิเคราะห์ส่วนประกอบของสินค้าและบรรจุภัณฑ์ทางการมองเห็น
ที่มา: สกากฤษณ์ ชนะสุรสีห์ กลุ่ม iherb, 2557


1.ตราสัญลักษ์สินค้า                                     
2.ชื่อสินค้า
3.คำอธิบายตัวสินค้า                                     
4.สรรพคุณ
5.ส่วนผสม 
6.วิธีใช้
7.สถานที่ผลิต 
8.ตราสัญลักษณ์ สนับสนุน จ.ชัยนาท
9.ตราสัญลักษณ์ สนง.อุตสาหกรรม 
10.ตราสัญลักษณ์ OTOP
11.น้ำหนักสุทธิ 
12.วันที่ผลิต/วันหมดอายุ
13.ราคา






วันอาทิตย์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุปผลการเรียนรู้ และกิจกรรมในห้องเรียน สัปดาห์ที่2

สัปดาห์ที่ 2 อาจารย์ผู้สอนได้แนะนำถึงรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในรายวิชา การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ โดยแบ่งออกได้ดังนี้

       -สรุปการแปลข่าวเพิ่มเติมเมื่อทุกคนได้ทำการแปลข่าวแล้วให้นำข่าวที่แปลแล้วอัพลงบล็อกหรือนำไปใส่ไว้ในไดรฟ์ที่อาจารย์ได้แชร์ให้
       https://drive.google.com/?tab=wo&authuser=0#folders/0BwdpUNs1N1Fgdk5IVkU3aFEtYUU

       -แต่ละกลุ่มนำเสนอสินค้า otop ของชัยนาท ที่ได้หามาและทำการ แล้วทำแบบสรุปสัมภาษณ์ ลงในชีตที่อาจารย์ได้แชร์ให้โฟลเดอร์งานกลุ่ม
       https://docs.google.com/document/d/1rZIVGYS3dQTgga5bjt-hkv6_7I8o2QqZWoC8JqMkn58/edit

       -ในท้ายชั่วโมงมีการทำแบบทดสอบ PRE-TEST ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกสำหรับบรรจุภัณฑ์ โดยใช้ช่องทางการสอบผ่านเว็บไซต์ : http://www.clarolinethai.info/




ความหมายของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Packaging Design)


Packaging design

Packaging is more than just your product's pretty face. Your package design may affect everything from breakage rates in shipment to whether stores will be willing to stock it. For example, "displayability" is an important concern. The original slanted-roof metal container used for Log Cabin Syrup was changed to a design that was easier to stack after grocers became reluctant to devote the necessary amounts of shelf space to the awkward packages. Other distribution-related packaging considerations include:


Labeling. You may be required to include certain information on the label of your product when it is distributed in specific ways. For example, labels of food products sold in retail outlets must contain information about their ingredients and nutritional value.
Opening. If your product is one that will be distributed in such a way that customers will want to--and should be able to--sample or examine it before buying, your packaging will have to be easy to open and to reclose. If, on the other hand, your product should not be opened by anyone other than the purchaser--an over-the-counter medication, for instance--then the packaging will have to be designed to resist and reveal tampering.
Size. If your product must be shipped a long distance to its distribution point, then bulky or heavy packaging may add too much to transportation costs.

Durability. Many products endure rough handling between their production point and their ultimate consumer. If your distribution system can't be relied upon to protect your product, your packaging will have to do the job.

ที่มา : http://www.entrepreneur.com/encyclopedia/packaging


แปล

บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมากกว่าเพียงแค่ใบหน้าตาของผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ของคุณอาจส่งผลกระทบต่อทุกอย่างจากความเสียหายในการจัดส่งไปยังร้านค้าว่าจะยินดีที่จะสต็อกมัน ยกตัวอย่างเช่น
"displayability" (ความสามารถในการนำเสนอ) เป็นความกังวลที่สำคัญภาชนะเดิมเป๋หลังคาโลหะที่ใช้สำหรับเข้าสู่ระบบ Cabin น้ำเชื่อมก็เปลี่ยนไปการออกแบบที่ง่ายต่อการกองหลังของชำกลายเป็นไม่เต็มใจที่จะอุทิศจำนวนเงินที่จำเป็นของพื้นที่ชั้นในแพคเกจที่น่าอึดอัดใจ การจัดจำหน่ายที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาบรรจุภัณฑ์อื่น ๆ ได้แก่

การติดฉลาก -คุณอาจจะต้องเพิ่มข้อมูลบางอย่างบนฉลากของผลิตภัณฑ์ของคุณเมื่อมันมีการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในรูปแบบที่เฉพาะเจาะจง ตัวอย่างเช่น ฉลากของผลิตภัณฑ์อาหารที่ขายในร้านค้าปลีกจะต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสมและคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ด้วย

การเปิด - หากผลิตภัณฑ์ของคุณเป็นผลิตภัณฑ์ที่จะถูกจำหน่ายในลักษณะที่ลูกค้าต้องการ-และควรสามารถที่จะ- ทดลองตัวอย่างหรือตรวจสอบก่อนจะซื้อ บรรจุภัณฑ์ของคุณจะต้องเปิดและปิดได้ง่าย ผลิตภัณฑ์ของคุณไม่ควรที่จะถูกเปิดโดยบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ซื้อ – การให้ยาเกินกว่าที่เคาน์เตอร์เช่น-ดังนั้นบรรจุภัณฑ์จะต้องมีการออกแบบมาเพื่อต้านทานและเปิดเผยการปลอมแปลง

ขนาด - หากผลิตภัณฑ์ของคุณจะต้องถูกส่งระยะทางไกลไปยังจุดแจกจ่ายของมัน ดังนั้นบรรจุภัณฑ์ขนาดใหญ่หรือหนักอาจเพิ่มค่าใช้จ่ายมากเกินไปในการขนส่ง

ความทนทาน – หลายผลิตภัณฑ์ทนต่อการจัดการหยาบๆ ระหว่างจุดผลิตและผู้บริโภคที่ดีที่สุดของมัน หากระบบการจำหน่ายของคุณไม่สามารถพึ่งพาในการปกป้องผลิตภัณฑ์ของคุณได้ บรรจุภัณฑ์ของคุณจะทำหน้าที่ของมันเอง

ที่มา : http://a1.dspnimg.com/data/l/652494632876_wpDqlVB0_l.jpg

ที่มา : http://media-cache-ak0.pinimg.com/736x/e7/07/f2/e707f2f29e6e2f0ad6e8fd413dd2c6c8.jpg

ความหมายการออกแบบบรรจุภัณฑ์

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ (packaging design) หมายถึง การกำหนดรูปแบบและโครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ให้สัมพันธ์กับหน้าที่ใช้สอยของผลิตภัณฑ์ เพื่อการคุ้มครองป้องกันไม่ให้สินค้าเสียหายและเพิ่มคุณค่าด้านจิตวิทยาต่อผู้บริโภค โดยอาศัยทั้งศาสตร์และศิลป์ในการสร้างสรรค์

ที่มา : http://netra.lpru.ac.th/~weta/c1/c1_print.html


ประโยชน์ของบรรจุภัณฑ์

1. การป้องกัน (Protection) เช่น กันน้ำ กันความชื้น กันแสง กันแก๊ส เมื่ออุณหภูมิสูงหรือต่ำ ด้านทานมิให้ผลิตภัณฑ์แปรสภาพไม่แต่ไม่ฉีกขาดง่าย ปกป้องให้สินค้าอยู่ในสภาพใหม่สดอยู่ในสภาวะแวดล้อมของตลาดได้ในวงจรยาว โดยไม่แปรสภาพขนานแท้และดั้งเดิม

2. การจัดจำหน่ายและการกระจาย (Distribution) เหมาะสมต่อพฤติกรรมการซื้อขายเอื้ออำนวยการแยกขาย ส่งต่อ การตั้งโชว์ การกระจาย การส่งเสริมจูงใจในตัว ทนต่อการขนย้าย ขนส่ง และการคลังสินค้า ด้วยต้นทุนสมเหตุสมผล ไม่เกิดรอยขูดขีด / ชำรุด ตั้งแต่จุดผลิตและบรรจุจนถึงมือผู้ซื้อ / ผู้ใช้ / ผู้บริโภค ทนทานต่อการเก็บไว้นานได้

3. การส่งเสริมการจำหน่าย (Promotion) เพื่อยึดพื้นที่แสดงจุดเด่น โชว์ตัวเองได้อย่างสะดุดตา สามารถระบุแจ้งเงื่อนไข แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอผลประโยชน์เพิ่มเติมเพื่อจูงใจผู้บริโภค เมื่อต้องการจัดรายการเพื่อเสริมพลังการแข่งขัน ก็สามารถเปลี่ยนแปลงและจัดทำได้สะดวก ควบคุมได้และประหยัด

4. การบรรจุภัณฑ์กลมกลืนกับสินค้า และกรรมวิธีการบรรจุ (Packaging) เหมาะสมทั้งในแง่การออกแบบ และเพื่อให้มีโครงสร้างเข้ากับขบวนการบรรจุ และเอื้ออำนวยความสะดวกในการหิ้ว – ถือกลับบ้าน ตลอดจนการใช้ได้กับเครื่องมือการบรรจุที่มีอยู่แล้ว หรือจัดหามาได้ ด้วยอัตราความเร็วในการผลิตที่ต้องการ ต้นทุนการบรรจุภัณฑ์ต่ำหรือสมเหตุสมผล ส่งเสริมจรรยาบรรณและรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ก่อให้เกิดมลพิษและอยู่ในทำนองคลองธรรมถูกต้องตามกฎหมายและพระราชบัญญัติต่าง ๆ

5. เพิ่มยอดขาย เนื่องจากในตลาดมีสินค้าและคู่แข่งเพิ่มขึ้นตลอดเวลา หากบรรจุภัณฑ์ของสินค้าใดได้รับการออกแบบเป็นอย่างดี จะสามารถดึงดูดตา ดึงดูดใจผู้บริโภคและก่อให้เกิดการซื้อในที่สุด รวมทั้งการลดต้นทุนการผลิต

ที่มา : http://www.mew6.com/composer/package/package_17.php

สรุป

    ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ไม่ควรคำนึงถึงแต่เรื่องหน้าตาของตัวผลิตภัณฑ์อย่างเดียว แต่ควรคำนึงถึงลักษณะการใช้งานด้วยเช่นในเรื่องของการป้องกัน การกระแทก ความชื้น กันสิ่งต่างที่จะมาทำลายคุณภาพของตัวผลิตภัณฑ์ ซึ่งการขนส่งก็ควรเป็นปัจจัยหนึ่งในการออกแบบตัวผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค และปัจจัยในการผลิต ขนส่ง ที่ดีควรเกิดจากการคิดและวางแผนที่เป็นระบบเพราะทุงอย่างล้วนสอดคล้องกัน






วันพฤหัสบดีที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2557

สรุปผลการเรียนรู้ และกิจกรรมในห้องเรียน สัปดาห์ที่1

สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ผู้สอนได้แนะนำถึงรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนในรายวิชา การออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ โดยแบ่งออกได้ดังนี้

       -ในทุกๆคาบเรียนต้องมีการรายงานข่าวที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีเนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษแล้วจึงนำมาแปล และสรุป หน้าชั้นเรียน ครั้งละ 3คน แล้วนำมาใส่ในบล็อกของตนเอง
       -ทำการสร้างบล็อกของตนเองโดยตั้งชื่อ นำหน้าว่า artd3302-ชื่อจริง.blogspot.com/ และปรับแต่งตามคำแนะนำของอาจารย์
       -ทำการดีไซน์ design sheet ของตนเองเพื่อนำมาใช้ในการเรียนในสัปดาห์ต่อไป
       -แบ่งกลุ่มทำงาน และเริ่มหาข้อมูลผลิตภัณฑ์ OTOP ของจังหวัดชัยนาท
       -หาสินค้าที่เป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ของจังหวัดชัยนาท มาคนละชิ้น
       -ทำการบ้าน และแบบสำรวจก่อนเรียน

สามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก
http://arti3314.blogspot.com/
http://packagingdesigncourse.blogspot.com/